ห่วงชูชีพ ไฟเบอร์กลาส ขนาด 22 นิ้ว
การเลือกใช้ห่วงชูชีพเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ เนื่องจากการใช้ห่วงชูชีพไม่ถูกต้องอาจส่งผลต่อสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ใช้ ดังนั้น เราขอแนะนำให้ท่านพิจารณาเหล่านี้ก่อนเลือกใช้ห่วงชูชีพ:
ประเภทของห่วงชูชีพ: มีหลายประเภทของห่วงชูชีพ เช่น ห่วงลม ห่วงน้ำ ห่วงไฟฟ้า และอื่นๆ แต่ละประเภทจะมีความเหมาะสมกับการใช้งานแตกต่างกัน ดังนั้น ควรตรวจสอบว่าห่วงชูชีพประเภทใดเหมาะสมกับงานหรือกิจกรรมที่ท่านจะใช้งานก่อนเลือกซื้อหรือใช้งาน
ความปลอดภัย: ห่วงชูชีพที่มีความปลอดภัยสูงจะช่วยป้องกันการบาดเจ็บและอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในการใช้งาน ดังนั้น ควรตรวจสอบว่าห่วงชูชีพมีมาตรฐานการผลิตและรับรองความปลอดภัยจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ความสะดวกในการใช้งาน: ห่วงชูชีพที่ใช้งานได้ง่ายและสะดวกจะช่วยลดความเสี่ยงในการใช้งาน ดังนั้น ควรเลือกห่วงชูชีพที่มีการใช้งานง่ายและมีความสะดวกในการใช้งาน เช่น มีตัวช่วยดึงดูดในการ
ห่วงชูชีพไฟเบอร์ขนาด 24 นิ้ว ใช้สำหรับลอยตัวในน้ำ เล่นกิจกรรมทางน้ำ ป้องกัน และ/หรือกู้ภัยทางน้ำ ป้องกันการจม หรือช่วยคน ช่วยให้สามารถมองเห็นได้ในระยะไกล เหมาะสำหรับเป็นชูชีพช่วยชีวิตที่ควรมีติดเรือไว้
รายละเอียดสินค้า
SIZE : 560 mm (วงนอก), 380 mm (วงใน)
WT (Kg) ± 0.25 : 1.5 Kg
Buoyancy (Kg) ± 0.25 : 7.5 Kg
Packing Pcs/ Bag : 10 ชิ้นต่อกล่อง
Colour : Orange
มาตรฐาน ห่วงชูชีพ ที่ขาดไม่ได้
ห่วงชูชีพ ที่ดีนั้นต้องได้มาตรฐาน SOLAS 96 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ออกแบบมาใช้สำหรับใช้งานบนเรือพาณิชย์ และเรือทั่วไป ตัวห่วงจะมีลักษณะเป็นสีส้ม มาพร้อมกับ TC แถบสะท้องแสง เพื่อความสะดวกในการค้นหายามกลางคืน ตัวห่วงชูชีพ ผลิตจากไฟเบอร์กลาส ที่มีความเบาเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ยังเสริมด้วยเส้นใยไฟเบอร์ที่ขึ้นรูปอย่างดีสามารถยืดหยุ่น ได้พอสมควร ตัวห่วงชูชีพ ที่ผลิตจากไฟเบอร์กลาส มีความทนทาน และมีอายุการใช้งานที่มากกว่าห่วงที่ผลิตจากโฟม ถึง 3 เท่า
หลักเกณฑ์การเลือกใช้ ห่วงชูชีพ ขนาดมาตรฐาน
หลักเกณฑ์ประการแรกเลยทางเว็บต้องขออธิบายตามหลังฟิสิกส์ และยกตัวอย่างแบบง่ายๆ คือหากเมื่อน้ำหนักหนัก 100 กิโลกกรัม นี้เมื่อลงน้ำ ก็ใช้ว่าจะจมลงไปเลยนะครับเพราะร่างกายของเรานั้นมีกำลังลอยตัวอยู่แล้ว ที่เรียกว่าค่า Buoyancy ซึ่งค่า Buoyancy นี้หากเราทรงตัวดีๆในน้ำก็ช่วยให้เราลอยตัวได้ แม้น้ำหนักของเราจะมากก็ตาม ดังนั้นห่วงชูชีพ หรือเสื้อชูชีพ ก็จะรับน้ำหนักในส่วนที่ตำแหน่งจุดศูนย์ถ่วงลงน้ำนั้นเท่านั้น ซึ่งแรงในส่วนนี้จะมีค่าประมาณ 50 – 150 นิวตัน ซึ่งค่า Buoyancy Performance ของเสื้อชูชีพ หรือห่วงชูชีพขนาไม่ว่าจะขนาดใด ก็จะมีค่า Buoyancy Performance อยู่ในระหว่าง 50-275 นิวตัน
การเลือกใช้ห่วงชูชีพ ควรเลือกให้เหมาะกับประเภทการใช้งาน และห่วงชูชีพควรได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ห่วงชูชีพที่เลือกใช้ควรมีขนาดที่พอดี ไม่ใหญ่หรือเล็กเกินไป และควรมีสายรัดที่พร้อมใช้งานอยู่เสมอไม่ฉีกขาด หรือแตกหัก
US Coast Guard ได้แบ่งประเภทไว้ตามวัตถุประสงค์ และคุณสมบัติการลอยตัว โดย ประเภท I, II, III และ V เป็นเสื้อชูชีพ IV เป็นอุปกรณ์สำหรับโยน
การเลือกใช้ประเภทใดพิจารณาจากความสามารถในการว่ายน้ำ กิจกรรม และสภาวะแหล่งน้ำนั้น การใช้ต้องตรวจสอบว่าอยู่ในสภาพดี แถบสายรัด และตัวล็อคใช้งานได้ดี ไม่ควรมีรอยฉีกขาด รู หรือรอยย่นของวัสดุที่ลอยน้ำ เลือกขนาดที่เหมาะสม โดยควรกระชับ สวมใส่แล้วลอยตัวคางพ้นน้ำ หายใจเข้าออกได้สะดวก ควรสวมใส่บนฝั่งพร้อมรัดสายครบที่สายให้เรียบร้อยก่อนลงน้ำ